มารู้จักผู้ประกันตน ประกันสังคม มาตรา 33, 39 \u0026 40 ต่างกันอย่างไร?
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
อาชีพงานประจำลาออกจากงานประจำค้าขาย จะเป็นผู้ประกันได้ในมาตราอะไร และมีสิทธิประโยชน์อย่างไร
ประกันสังคม มาตรา 39 คือ ?
ประเภทของผู้ประกันตนแบ่งเป็น
มาตรา 33
มาตรา 39
และ มาตรา 40
สำหรับคลิปนี้จะพูดถึงมาตรา 39 ซึ่งมีความเกี่ยวโยงกับมาตรา33
ประกันสังคมมาตรา40,สรุปสิทธิประโยชน์การคุ้มครองมาตรา40,จ่ายเงินต่างกัน การคุ้มครองแตกต่างกันอย่างไร
ประกันสังคมมาตรา40สิทธิประโยชน์การคุ้มครองประกันสังคมมาตรา40
สิทธิประกันสังคมที่ผู้ประกันตนต้องรู้ : รู้เท่ารู้ทัน (18 เม.ย. 62)
ประกันสังคม คือ การสร้างหลักประกันให้กับชีวิตในกลุ่มของสมาชิกที่มีรายได้ และมีการจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม โดยจุดประสงค์ของการทำประกันสังคม เพื่อให้ผู้ประกันตนมีหลักประกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ชีวิตประจำวัน โดยที่บางคนไม่รู้ด้วยซ้ำว่าจ่ายค่าประกันตนไป สิทธิที่ตัวเองจะได้รับมีอะไรบ้าง มาทำความรู้จักกับประเภทของผู้ประกันตน และสิทธิที่ผู้ประกันตนจะได้รับ
ติดตามชมประเด็นรู้เท่ารู้ทัน ในช่วง \”วันใหม่ ไทยพีบีเอส\” ทุกวันจันทร์ ศุกร์ ทางไทยพีบีเอส หรือชมย้อนหลังได้ทาง http://www.thaipbs.or.th/Rutan
กด Subscribe
ติดตามรายการดีๆของช่อง ได้ที่ : http://goo.gl/hdy2ye
และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBSFan
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
Google Plus : http://www.thaipbs.or.th/GooglePlus
LINE : http://bit.ly/2GtS44i
Youtube : http://www.youtube.com/user/ThaiPBS
ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีชราภาพ/Nathamon channel
สำหรับคลิปวิดีโอที่มีเนื้อสาระเกี่ยวกับ \”เงินบำเหน็จ\” ของผู้ประกันตนในมาตรา 40 กรณีชราภาพ ว่า 1) ใครมีสิทธิได้รับบ้าง 2) จะได้ตอนไหน และ 3) ได้เท่าไหร่ คิดยังไง
ผู้มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จกรณีชราภาพ คือ
ผู้ประกันตนมาตรา 40 ในทางเลือกที่ 2 ซึ่งจ่ายเงินสมทบไปเดือนละ100 บาท รัฐร่วมจ่ายให้อีก 50 บาท และ ทางเลือกที่ 3 จ่ายเงินไปเดือนละ 300 บาท รัฐร่วมจ่าย 150 บาท เป็นผู้มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์นี้ ส่วนจะได้มากหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับระยะเวลาการส่งเงินสมทบ
นอกจากนี้แล้ว ผู้ประกันตนในทางเลือกที่ 2 และ3 สามารถออมเงินเพิ่มได้อีกเดือนละ 1,000 บาท
เงินบำเหน็จกรณีชราภาพนี้ จะได้ตอนไหน ?
เมื่ออายุครบ 60 ปีบริบูรณ์และไม่ประสงค์เป็นผู้ประกันตน (ลาออก)
ได้เท่าไหร่ คิดยังไง
ทางเลือกที่ 2 นั้นจะเท่ากับ (50×จำนวนเดือนที่จ่ายเงินสมทบ) +เงินออมเพิ่มถ้ามี+ผลประโยชน์ตอบแทนรายปีจากประกันสังคม
ทางเลือกที่ 3 นั้นจะได้เท่ากับ (150×จำนวนเดือนที่จ่ายเงินสมทบ) +เงินออมเพิ่มถ้ามี+ผลประโยชน์ตอบแทนรายปีจากประกันสังคม
ประกันสังคมกรณีชราภาพNathamon Channel
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่MMO