กฎบริหารเงิน ด้วยสูตร 50 30 20 | รู้เท่าธัน EP.10
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
เราจะพาทุกคนมารู้จักกับสูตรการเงิน 50 : 30 : 20
เป็นสูตรที่เราสามารถนำบริหารจัดการและตั้งงบประมาณกับการใช้จ่ายของเราในแต่ละเดือน ซึ่งสูตรนี้เป็นเทคนิคช่วยเก็บออมเงินที่คนต่างประเทศนิยมใช้เหมือนกัน มีคนใช้สูตรนี้เยอะขนาดนี้แสดงว่าวิธีนี้ใช้ได้ผลจริง
เริ่มจากเราได้เงินมาก้อนนึง ไม่ว่าจะเกิดจากการทำงาน เงินเดือน รวมถึงจากการค้าขาย การทำธุรกิจส่วนตัว หลังจากหักค่าใช้จ่ายต่างๆ สมมติเป็นพนักงานเงินเดือน ค่าใช้จ่ายที่โดนหัก เช่น ประกันสังคม, กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ, ภาษี ณ ที่จ่าย เป็นต้น หักแล้วเหลือเท่าไหร่ตรงส่วนนี้เราจะนับเป็น 100%
เมื่อได้ 100% แล้ว เราจะมาซอยมาแบ่งย่อยตามสัดส่วนกัน ดังนี้
ก้อนที่ 1 50% คือ Needs หรือ ความจำเป็นในชีวิต
ในส่วนแรกนี้เราจะแบ่งเงินไว้เงินสำหรับใช้จ่ายเพื่อความจำเป็นในชีวิต เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ ต้องใช้เพื่อดำรงชีวิต เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าอาหาร ค่าเดินทาง ผ่อนบ้าน ผ่อนรถ
ก้อนที่ 2 30% คือ Wants หรือ สิ่งที่เราอยากได้
ในส่วนนี้จะเอาไว้สำหรับใช้จ่ายเพื่อการตอบสนองความพึงพอใจของเรา หรือเรียกอีกคำว่า ค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ซื้อ เช่น ซื้อของขวัญให้ตัวเอง ช้อปปิ้งต่างๆ ดูหนัง ท่องเที่ยว รวมถึงไปกินบุฟเฟ่ กินอาหารหรูๆ สักมื้อ
ก้อนที่ 3 20% คือ Investment and Emergency
ส่วนสุดท้ายนี้จะเป็นเงินสำหรับไปลงทุนในสินทรัพย์ต่างๆ เช่น หุ้น กองทุน ทองคำ อสังหาฯ เป็นต้น หรืออาจจะนำเงินส่วนนี้ไปลงทุนเพื่อนวางแผนอนาคต ไม่ว่าจะเป็นการวางแผนเกษียณ วางแผนการศึกษาลูก วางแผนลงทุนทำธุรกิจ รวมถึงวางแผนเรื่องสภาพคล่องทางการเงินของเรา แบ่งเงินส่วนนี้มาเก็บออมเป็นเงินสำรองฉุกเฉินไว้ใช้ในช่วงเกิดวิกฤตดังเช่นตอนนี้ที่พวกเรากำลังเจอกับสถานการณ์ไวรัส COVID19
ในช่วงสถานการณ์แบบนี้ เรายิ่งควรมีเงินเก็บและเงินสำรองฉุกเฉินเตรียมพร้อมไว้ เผื่อเกิดอะไรขึ้นในอนาคตเราจะได้มีเงินส่วนนี้มาใช้จ่ายได้ และเราควรมีเงินสำรองฉุกเฉินอย่างน้อย 36 เดือน โดยเราจะคิดจากค่าใช้จ่ายรายเดือนเป็นหลักครับ
ยังไงก็ลองนำหลักการนี้ไปใช้กันดูนะครับ เราจะได้มีการบริหารจัดสรรเงินให้เป็นสัดส่วนมากขึ้น และการมีเงินออมเยอะๆก็จะไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป
กฎบริหารเงิน การออมเงิน
…………………
ฝากกด Subscribed เป็นกำลังใจให้พวกเราด้วยนะครับ
ติดตาม Cashury ช่องทางอื่นๆ ได้ที่
Facebook : https://facebook.com/Cashury.th
IG : https://www.instagram.com/cashury.th
Blockdit : https://www.blockdit.com/cashury
3 วิธีเก็บเงินอย่างไรให้งอกเงย
เพจรู้รอบตอบโจทย์ธุรกิจ
โทร: 0989248558
ติดต่อ Line: @banksupakit
ประวัติโค้ชแบงค์และแหล่งข้อมูลอ้างอิง: https://bit.ly/3ijnpK1
บทเรียนพ่อรวยสู่อิสรภาพทางการเงิน
สรุปบทเรียนจากหนังสือพ่อรวยสอนลูก (Rich Dad Poor Dad) ซึ่งเขียนโดย โรเบิร์ต คิโยซากิ สำหรับท่านที่ต้องการศึกษา และสร้างแนวทางสู่อิสรภาพทางการเงิน
สรุปและบรรยายโดย The Money Coach: จักรพงษ์ เมษพันธุ์
วิธีคิดเรื่องการบริหารเงินของเหล่า \”Millionaire\” | Mission To The Moon EP.662
หลายคนมักจะคิดว่าเหล่า millionaire นั้น น่าจะมีเคล็ดลับหรือความลับอะไรบางอย่าง ในการสร้างหรือบริหารจัดการความมั่งคั่ง เพื่อทำให้เขาเหล่านั้นรวยขึ้น แต่จริงๆ แล้วสิ่งเหล่านี้ไม่ได้เป็นความลับแต่อย่างใด แต่เป็นสิ่งพื้นฐานที่เราทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ และนี่คือ… หลักคิด 11 ข้อ ที่จะช่วยให้เราบริหารจัดการเงินได้ดีมากขึ้น
MissionToTheMoon
MissionToTheMoonPodcast
ติดตาม Mission To The Moon Media ได้ที่
Website: https://bit.ly/3oHFe99
Facebook: https://bit.ly/32Oe4nW
Twitter: https://bit.ly/2TyBOH6
Blockdit: https://bit.ly/3jI0pEk
YouTube: https://bit.ly/2TyTXVg
TikTok: https://bit.ly/35Gq8aX
SoundCloud: https://bit.ly/3e4Tzax
Podbean: https://bit.ly/3oCqU1g
Spotify: https://spoti.fi/37MNajh
Apple Podcast: https://apple.co/3oK1JKy
EP 17 | 9 เทคนิคบริหารเงินสำหรับคนอายุ 30 UP
อายุ 30 ถือว่าเป็นช่วงวัยที่เติบโตขึ้น มีรายได้เพิ่มขึ้น และกับดักทางการเงินมากมายที่รออยู่ ดังนั้นการบริหารเงินในช่วงวัยนี้ถือว่ามีความสำคัญมาก เพราะเป็นช่วงที่วัดว่าเราจะเกษียณได้เร็วแค่ไหน ยิ่งเราบริหารเงินไม่เป็น หรือไม่ระวังการใช้จ่ายในช่วงนี้ เราจะพบว่าเมื่ออายุเข้าเลข 5 ทุกอย่างจะสายเกินไปสำหรับการมีอิสรภาพทางการเงิน
ผมว่าหวังว่าคลิปนี้จะทำให้เราได้คิดเรื่องการบริหารเงินได้ดีขึ้น อย่างไรก็ตามรู้คือเรื่องนึง แต่การลงมือทำกลับเป็นอีกเรื่องนึง
ผมเชื่อทุกคนจะเริ่มลงมือทำ และประสบความสำเร็จ
ลงทุนอย่างมีความรู้ครับ
กวี ชูกิจเกษม
Vee
VeeInvestmentAcademy
อิสรภาพทางการเงิน
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMMO